การสร้างเสริมสุขภาวะในโรงเรียนแบบบูรณาการในการเรียนรู้ แบบมีส่วนร่วมผ่านวิถีชุมชนท้องถิ่น

บทคัดย่อ/Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานการดำเนินงานการสร้างเสริมสุข ภาวะในโรงเรียนแบบบูรณาการในการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมผ่านวิถีชุมชนท้องถิ่น (2) เพื่อพัฒนา รูปแบบการการสร้างเสริมสุขภาวะในโรงเรียนแบบบูรณาการในการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมผ่านวิถีชุมชน ท้องถิ่น (3)เพื่อทดลองใช้รูปแบบการสร้างเสริมสุขภาวะในโรงเรียนแบบบูรณาการในการเรียนรู้แบบมี ส่วนร่วมผ่านวิถีชุมชนท้องถิ่น (4)เพื่อประเมินผลและปรับปรุงรูปแบบการสร้างเสริมการสร้างเสริมสุข ภาวะในโรงเรียนแบบบูรณาการในการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมผ่านวิถีชุมชนท้องถิ่น

วิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development: R&D) โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัย เชิงปริมาณ (Quantitative Research) และเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ (1) วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน (Analysis) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ได้แก่ ผู้บริหารและครู ใน โรงเรียนขนาดกลางที่อยู่ในสังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1 สุ่ม เลือกเจาะจงตามเกณฑ์ จ านวน 34 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถามบริบท สภาพปัจจุบัน สภาพ ที่พึงประสงค์ ความต้องการและ แนวทางการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะ การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (2) การออกแบบและพัฒนา (Design and Development) ประชากรที่ใช้ในระยะนี้ ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครู เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ตัวแทนชุมชน ปราชญ์ ชาวบ้าน จ านวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แนวการสัมภาษณ์แบบสนทนากลุ่ม ท าการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (3) การทดลองใช้ (Implementation)กลุ่มเป้าหมายในการอบรม ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมปีที่ 1-6 โรงเรียนบ้านทุ่งขุนน้อยหนองจานวิทยา จำนวน 98 คนโดยใช้วิธีการสุ่ม แบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) รูปแบบการสร้างเสริมสุขภาวะในโรงเรียนแบบบูรณาการ ในการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมผ่านวิถีชุมชนท้องถิ่น 2) แบบทดสอบแบบคู่ขนาน (4) การประเมินผลและ ปรับปรุง(Evaluation) ประชากรที่ใช้ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ 3คน .ประเมินรูปแบการการสร้างเสริมสุข ภาวะฯ เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบประเมินคุณภาพของรูปแบบการสร้างเสริมสุขภาวะฯ ทำการวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา

ผลการวิจัยปรากฏดังนี 1. ผลการสำรวจข้อมูลพื้นฐานสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการด้านการ จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะแบบมีส่วนร่วมของชุมชน พบว่า 1) สภาพปัจจุบัน ครูมีการดำเนินงานการ ส่งเสริมสุขภาวะในโรงเรียนโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ผู้เรียนเป็นสุข รองลงมาคือ โรงเรียนเป็นสุข 2) ครูมีความประสงค์ในการดำเนินงานด้านการส่งเสริมสุขภาวะใน โรงเรียน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ผู้เรียนเป็นสุข รองลงมาคือ โรงเรียนเป็นสุข 3) ครูมีความต้องการการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาวะแบบมีส่วนร่วมของชุมชนใน ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การมีส่วนร่วมสนับสนุนให้ประชาชนในชุมชน เข้าร่วมกิจกรรมตามแผนงาน/โครงการ

2. ผลการพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมสุขภาวะในโรงเรียนแบบบูรณาการในการเรียนรู้แบบมี ส่วนร่วมผ่านวิถีชุมชนท้องถิ่น พบว่า รูปแบบการสร้างเสริมสุขภาวะในโรงเรียนแบบบูรณาการในการ เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมผ่านวิถีชุมชนท้องถิ่น ประกอบด้วย 2 ส่วนหลักได้แก่ 1) องค์ประกอบ มี6 องค์ประกอบดังนี้ ได้แก่ โรงเรียน/ชุมชน กรอบแนวคิดด้านสุขภาวะ ความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีสนับสนุน ปัจจัยการสร้างความรู้ และการวัดและประเมินผล และ 2) ขั้นตอนในการสร้าง เสริมสุขภาวะ มี 6 ขั้นตอน ได้แก่ การเตรียมการ จัดตั้งชุมชนการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านสุขภาวะ การสร้างทีมงานในการสร้างเสริมสุขภาวะ การสร้างความรู้และจัดเก็บความรู้ การสร้าง ต้นแบบการปฏิบัติที่ดี

3. ผลการใช้รูปแบบการสร้างเสริมสุขภาวะในโรงเรียนแบบบูรณาการในการเรียนรู้แบบมี ส่วนร่วมผ่านวิถีชุมชนท้องถิ่น พบว่า 1)ผลการทดสอบความรู้ และผลจากแบบสอบถามเจตคติต่อการ การสร้างเสริมสุขภาวะในโรงเรียนแบบบูรณาการในการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมผ่านวิถีชุมชนท้องถิ่นหลัง การทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2) การประเมินความพึง พอใจของผู้เข้ารับการอบรมการเสริมสร้างสุขภาวะในโรงเรียนแบบบูรณาการในการเรียนรู้แบบมีส่วน ร่วมผ่านวิถีชุมชนท้องถิ่น ในภาพรวมทุกด้าน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านวิทยากรและด้านเนื้อหา มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนด้านบรรยากาศและด้าน ผลลัพธ์มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก

4. สรุปการประเมินผล และปรับปรุงรูปแบบการสร้างเสริมสุขภาวะในโรงเรียนแบบบูรณา การในการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมผ่านวิถีชุมชนท้องถิ่น พบว่า ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินคุณภาพรูปแบบการ สร้างเสริมสุขภาวะในโรงเรียนแบบบูรณาการในการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมผ่านวิถีชุมชนท้องถิ่นโดย ภาพรวมในระดับดี โดยด้านที่มีผลการประเมินสูงที่สุด ได้แก่ การนำรูปแบบการจัดการความรู้โดยใช้ภูมิ ปัญญาท้องถิ่นฯ ไปใช้ปฏิบัติได้

The objectives of this research were (1) To study basic information on health promotion in integrated schools in participatory learning through local community (2) To develop an integrated school health promotion model. In participatory learning through local community (3) To test the use of an integrated school health promotion model in participatory learning through local community lifestyles. (4) To evaluate and improve the model of promoting health promotion in integrated schools in participatory learning through local community.

This research is research and development (R&D) using quantitative research methodology and Qualitative Research. This consist of 4 steps: (1) Basic data analysis (Analysis). The samples used are administrators and teachers in medium-sized schools under the Ubon Ratchathani Primary Educational Service Area Office 1, with 34 students were randomly selected according to the criteria. Context questionnaire, present condition, desirable condition Needs and Guidelines for organizing activities to promote well-being Data analysis, including mean and standard deviation. (2) Design and Development: The population used in this phase consisted of 10 administrators, teachers, public health workers, community representatives, village scholars. Group discussion style the data were analyzed by content analysis. (3) Implementation. Target groups in the training were 98 students in primary school grades 1-6 at Ban Thung Khun Noi Nong Chanwittaya School using a random sampling method. The research instruments were: 1) an integrated school health promotion model in participatory learning through local communities; 2) parallel testing (4) evaluation and improvement : The population used is 3 qualified persons The tools used are Quality Assessment Form for Health Promotion Model The data were analyzed using mean values. Standard deviation and content analysis

The research results are as follows: 1. Survey results, basic information, current condition Desirable condition And the needs of organizing School Health Promotion Integrated in participatory learning through the local community were found that 1) The current situation teachers had a high level of health promotion activities in the school. Where the side with the highest mean is the students were happy, followed by the happiness school.2) The teachers wanted to carry out work in promoting health in the school. Overall at the highest level where the side with the highest mean is the students were happy, followed by the happiness school. 3) The teachers' demand for community participation health promotion activities was at a high level overall. The highest average is the participation in supporting people in the community to participate in activities according to the plan / project.

2. The results of the development of an integrated school health promotion model in participatory learning through local communities found that the integrated health promotion model in participatory learning It consists of 2 main parts: 1) There are 6 components: school / community Concept of wellness Knowledge of local wisdom Support technology Knowledge building factors And measurement and evaluation; and 2) the health promotion process has 6 steps: preparation, establishment of a learning community; Organizing health learning activities team building to promote health building knowledge and storing knowledge Prototyping good practice

3. The results of using the integrated health promotion model in participatory learning through local community ways were found that 1) the results of the knowledge test and the results from the attitudes toward integrated school health promotion in participatory learning through local community ways after the experiment were significantly higher than before the experiment at levels 01 and 2. ) Assessing the satisfaction of the participants in the integrated school health promotion training in participatory learning through local community ways In all aspects The mean is at the highest level. When considering each aspect, it was found that the speakers and content aspects the mean is at the highest level. Atmospheric and outcome aspects were at a high level.

4. Summary of Evaluation And improving the model of health promotion in the integrated school in participatory learning through local community ways, it was found that the experts assessed the quality of the integrated school health model in learning with Contributing through local community lifestyles, overall at a good level The area with the highest assessment results was the introduction of a knowledge management model using local wisdom take to practical.