การมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ฟื้นฟูภูมิปัญญาการแทงหยวก ของชาวบ้านอําเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี การศึกษาในฐานะ มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม
บทคัดย่อ/Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาแนวทางในการอนุรักษ์ฟื้นฟูการแทงหยวกของ ชาวบ้านอําเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี 2) เพื่อศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ฟื้นฟู การแทงหยวกของชาวบ้านอําเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี 3)เพื่อจัดทําหนังสือภูมิปัญญาการ แทงหยวกของชาวบ้านอําเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี การวิจัยนี้เป็นการวิจัยชุมชนซึ่งผู้วิจัยได้ บรูณาการระเบียบวิธีวิจัยของศาสตร์ทั้ง 3 สาขามาประยุกต์ใช้ในการวิจัย อันได้แก่ 1) การศึกษาเชิง คุณภาพ 2) การวิจัยแบบมีส่วนร่วม และ3) การวิจัยทางคติชนวิทยา ซึ่งผู้วิจัยเลือกใช้เครื่องมือในการ วิจัย ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์เชิงลึก 2) แบบสอบถาม 3) แบบบันทึกการสังเกตแบบมีส่วนร่วม 4) แบบบันทึกการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม เพื่อเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ ปราชญ์ ชาวบ้าน ผู้นําชุมชน ชาวบ้าน สมาชิกกลุ่มแทงหยวก
ผลการศึกษาพบว่า ด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟูภูมิปัญญาการแทงหยวก พบว่ามี 3 แนวทาง คือ 1)ภูมิปัญญาของชุมชนอนุรักษ์โดยชุมชน 2)ภูมิปัญญาของชุมชนสนับสนุนโดยหน่วยงานของรัฐ และเอกชน 3)ภูมิปัญญาของชุมชนส่งเสริมโดยสถาบันการศึกษา ส่วนด้านการสืบทอดภูมิปัญญาการ แทงหยวกของชาวเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี พบว่าศิลปะการแทงหยวกเป็นภูมิปัญญาของคน ท้องถิ่น ชาวบ้านจะมีวิธีการสืบทอด 4 ลักษณะ คือ 1)การสอนให้กับเครือญาติ 2)การสอนแก่บุคคล ในชุมชนที่มิใช่เครือญาติ 3)การสอนศิลปะการแทงหยวกให้กับบุคคลทั่วไป และ 4)การสอนเสริมใน สถานศึกษาและนอกสถานที่ ด้านกระบวนการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ฟื้นฟูภูมิปัญญาการแทงหยวก พบว่าการมีส่วนร่วมของชุมชนปรากฏใน 4 ลักษณะ ได้แก่ 1) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการค้นหา ปัญหาและสาเหตุของปัญหาภูมิปัญญาการแทงหยวก 2) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการวางแผนเพื่อ อนุรักษ์ภูมิปัญญาการแทงหยวก 3) การมีส่วนร่วมของชุมชนในดําเนินงานตามแผนที่กําหนดไว้เพื่อ อนุรักษ์ภูมิปัญญาการแทงหยวกและ 4) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการรับผลประโยชน์จากการ ดําเนินการอนุรักษ์ภูมิปัญญาการแทงหยวก ด้านการจัดทําหนังสือภูมิปัญญาการแทงหยวกของ ชาวบ้านเขื่องใน อําเภอเขื่องในจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งประกอบด้วยเนื้อหา 4 บท ได้แก่ บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการแทงหยวก บทที่ 2 เครื่องมือและอุปกรณ์ในการแทงหยวก บทที่ 3 ขั้นตอนและลวดลายการแทงหยวก บทที่ 4 การแทงหยวกในประเพณีแห่ปราสาทผึ้ง
Objective of this research is 1) to study the guidelines for the conservation and rehabilitation of the KhueangNai district villagers. UbonRatchathani Province 2) to study the participation process in the conservation, rehabilitation, and stabbing of villagers in KhueangNai District. UbonRatchathani Province 3) to prepare books on the knowledge of the villagers in KhueangNai District UbonRatchathani Province This research is community research in which the researcher has integrated research methods of all 3 disciplines to apply in the research, namely 1) qualitative study 2) participatory research and 3) clinical research. Folklore The researcher chose to use research tools such as 1) In-depth Interview 2) Questionnaire 3) Record of Participatory Observation 4) Non Participant Observation to collect data from the sample. In this research, villagers are folk philosophers, community leaders, members of the Thang Yuek group.
The study found that In terms of conservation and restoration of wisdom, there are 3 approaches: 1) community wisdom, conserved by community, 2) community wisdom supported by government and private agencies, 3) community wisdom promoted by educational institutions. As for the inheritance of the wisdom of the Khueang people UbonRatchathani Province Found that the art of stabbing is the wisdom of the local people The villagers have 4 methods of inheritance: 1) teaching for kinship, 2) teaching to non-family members, 3) teaching the art of stabbing to the general public and 4) teaching supplementary in educational institutions. And off-site The process of participation in the conservation and rehabilitation of the villagers' wisdom KhueangNai District UbonRatchathani Province It was found that the community participation appeared in 4 aspects: 1) community participation in finding the problem and the root cause of the problem of tackling wisdom; 2) the participation of the community in planning to preserve the wisdom of stabbing; 3) Community participation in the planned work to preserve the wisdom of stabbing; and 4) the participation of the community in benefiting from the conservation of wisdom. The preparation of the book, the wisdom of the KhueangNai villagers KhuangNai District, UbonRatchathani Province It consists of 4 chapters: Chapter 1, Introduction to Stabbing, Chapter 2, Tools and Equipment for Stabbing, Chapter 3, Procedures and Patterns for Stabbing, Chapter 4, Stabbing in the PrasatPhueng Parade Festival.