การพัฒนาการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์โดยการมีส่วนร่วมของเยาวชนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวแหล่งอารยธรรมอีสานใต้ กรณีศึกษาชุมชนริมฝั่งแม่น้ำโขงตอนล่างในเขตอำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี

บทคัดย่อ/Abstract

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษา ความต้องการในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์โดยการมีส่วนร่วมของเยาวชน ใน เขตอำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี 2) เพื่อศึกษาวัฒนธรรมประเพณีอีสานที่เป็นเอกลักษณ์ของ ชุมชนโฮมสเตย์ในบริเวณริมฝั่งแม่น้ำโขงตอนล่าง กรณีศึกษาชุมชนในเขตอำเภอโขงเจียม จังหวัด อุบลราชธานี 3) เพื่อสำรวจความต้องการเชิงเนื้อหาของบทเรียนภาษาอังกฤษ เพื่อการท่องเที่ยวแบบ โฮมสเตย์ในท้องถิ่นที่ชุมชนต้องการ 4) เพื่อสร้างบทเรียนภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวแบบ โฮมสเตย์ของเยาวชน ในเขตอำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี 5) เพื่อจัดกิจกรรมพัฒนาการใช้ ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ โดยการ มีส่วนร่วมของเยาวชน ในเขตอำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี โดยมีกลุ่ม ตัวอย่าง เป็นเยาวชนในเขตอำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี จ้านวน 100 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม และ สัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณหาค่าสถิติ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ โดยใช้โปรแกรม วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยน้าข้อมูลมาสรุปผลเชิงบรรยาย

ผลการวิจัย พบว่า 1) การศึกษาความต้องการในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวแบบ โฮมสเตย์ของเยาวชน พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ทักษะการพูด เพื่อให้สามารถโต้ตอบ ตอบ ค้าถาม ให้ข้อมูลนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ส่วนผลการ ศึกษาความต้องการของนักท่องเที่ยว ชาวต่างชาติที่มีต่อการใช้บริการการท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ต้องการให้พัฒนาทักษะการพูดของผู้ประกอบการโฮมสเตย์ เพื่อให้สามารถโต้ตอบ ตอบค้าถาม ให้ ข้อมูลนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ การศึกษาวัฒนธรรมและประเพณีอีสานที่เป็นเอกลักษณ์ของชุมชน โฮมสเตย์ พบว่า กิจกรรมที่เกิดจากวัฒนธรรมภูมิปัญญาของชุมชน มีทั้งหมด 7 กลุ่ม กิจกรรม ได้แก่ กลุ่มทอผ้าสาธิตการทอผ้าและการมัดย้อม กลุ่มไม้กวาดสาธิตการทำไม้กวาด กลุ่มสานเสื่อ กลุ่มฉาง ข้าวสาธิตการแปรรูปข้าวไร่ กลุ่มกินข้าวเซาเฮือน สาธิตการทำอาหารและจัดเตรียมอาหารสำหรับ นักท่องเที่ยว กลุ่มป่าชุมชน น้านักท่องเที่ยวชมสิ่งมหัศจรรย์ 9 จุดและ กลุ่มสมุนไพรเยาวชน น้า นักท่องเที่ยวชมสมุนไพร ด้านประเพณีอีสาน มีทั้งหมด 2 ประเพณี ได้แก่ การบายศรีสู่ขวัญและการ ตักบาตรพระสงฆ์ 3) ความต้องการเชิงเนื้อหาของบทเรียนภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว แบบ โฮมสเตย์ ด้านประเพณี พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ กิจกรรมบายศรีสู่ขวัญ ด้านวัฒนธรรม พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ กิจกรรมกลุ่มสาธิตการทำไม้กวาด กิจกรรมกลุ่มทอผ้าสาธิตการทอผ้าและ การมัดย้อม กิจกรรมกลุ่มกินข้าวเซาเฮือน ด้านอื่น ๆ พบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ การทักทาย แนะน้าตนเอง ขอบคุณ ขอโทษ กล่าวลา การสร้างบทเรียน ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวแบบ โฮมสเตย์ พบว่า การศึกษาต้นเหตุความจ้าเป็น ความเหมาะสมและความต้องการของ ชุมว่ามีความ ต้องการภาษาเฉพาะในด้านใดบ้าง เป็นสิ่งสำคัญที่ขาดไม่ได้ การกำหนดระดับความสามารถของภาษา ในทักษะต่าง ๆ ที่จ้าเป็น เช่น ภาษาที่ใช้ด้านการท่องเที่ยวย่อมใช้ทักษะการฟัง พูด มากกว่า อ่าน เขียน การวิเคราะห์ค้าและกลุ่มค้าใดบ้าง ที่ต้องใช้ในแต่ละประเภทของภาษาเฉพาะด้าน เช่น สำนวน บทสนทนา ค้าแปล ค้าอธิบายเกี่ยวกับ วัฒนธรรมการใช้ภาษา แบบฝึกหัดและกิจกรรม เหล่านี้เป็นสิ่ง ที่ต้องต้องค้านึงถึงอย่างมาก 5) การจัดกิจกรรมการพัฒนาการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยวแบบ โฮมสเตย์ พบว่า ผลการทดสอบผลสัมฤทธิ์ จากการพัฒนาการใช้ภาษาอังกฤษ หลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทั้งนี้ปัจจัยที่ทำให้เยาวชนพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ได้อย่างมีประสิทธิภาพจะต้องค้านึงถึงลักษณะที่สำคัญต่าง ๆ ในการจัดกิจกรรม ได้แก่ การเน้นความ เข้าใจเรื่องทั้งหมดมากกว่าความสามารถในการแยกวิเคราะห์รายละเอียด การเน้นกระบวนการจัด กิจกรรมให้สอดคล้องกับกระบวนการที่เกิดขึ้นในการสื่อสารจริง การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้ภาษา ให้มาก ๆ และการมองข้ามข้อผิดพลาดเล็ก ๆ น้อย ๆ

This research was both quantitative and qualitative with the following aims 1) to study the need to use English for home stay tourism of youth to promote tourism in the south of E-Sarn culture, a case Study of the lower Khong riverside, Khong-Jeam district, Ubon Ratchathani, 2) to study the cultural traditions of E-Sarn which was unique to the community home stay in the lower Khong Riverside, Khong-Jeam district, Ubon Ratchathani, 3) to explore the needs of lesson’s content in English for home stay tourism, 4) to create the home stay English lesson of youth in KhongJeam district, Ubon Ratchathani, and 5) to organize activities for developing English for home stay tourism in Khong-Jeam district, Ubon Ratchathani. The subjects of the study were youth who live in Khong-Jeam district. The number of 100 people selecting by a purposing sampling method. The instruments were questionnaire and an instructed interview. The quantitative data was analyzed to find the mean and percentage, and the qualitative data was analyzed by using content analysis.

The finding revealed that 1) the need to use English for home stay tourism of youth to promote tourism in the south of E-Sarn culture, a case Study of the lower Khong riverside, Khong-Jeam district, Ubon Ratchathani. As for the results of the study, the needs to use English of the youth in home stay area found that, the high average was speaking skills for interact with the tourist. As the same result, the needs of foreign tourists with the home stay services found that the high average was speaking skills for interact with the tourist, 2) the cultural traditions of E-Sarn which was unique to the community home stay in the lower Khong Riverside, Khong-Jeam district, Ubon Ratchathani. found that, the activities of the culture wisdom were 7 activity groups, including broom group, granary group (processed and products from rice), hand-woven bamboo folk pattern mat group, weaving cotton and natural tie dye group, local food and home stay group, herb group, and community forest group. Addition, there were 2 E-sarn traditions, including The Bai Si and offering food to the monk (Takbat), 3) the needs of lesson’s content in English for home stay tourism found that, tradition; the high average was The Bai Si. Culture; the high average was the broom group, weaving cotton and natural tie dye group, local food and home stay group. Other; the high average were greeting, introduction, thanking, apologizing, and saying goodbye, 4) creation the home stay English lesson of youth in Khong-Jeam district, Ubon Ratchathani found that, the study of the necessity, the appropriateness and needs of the community were important issues for improve speaking skill. In tourism, were used listening and speaking more than reading and writing. Analyzing words must be used in each type of specific language such as idioms, conversations, translations, explanations about language culture, exercises and activities. These were things that need to be taken into consideration, and 5) Organizing activities for developing English for home stay tourism in Khong-Jeam district, Ubon Ratchathani, found that after using activities for developing English for home stay tourism learners were significantly increased at the .01 level. The factors that made youth develop English language skills effectively must be considered emphasizing understanding of all matters rather than the ability to analyze details, emphasis on the process of organizing activities in accordance with the processes that occur in real communication and providing opportunities for learners to use the language a lot and overlooking minor errors.