ผลของโปรแกรมผสมผสานกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสมรรถภาพสมอง ในกลุ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะสมรรถภาพสมองบกพร่องระยะต้น
บทคัดย่อ/Abstract
การศึกษากึ่งทดลองนี้ เพ่ือเปรียบเทียบการทาหน้าท่ีด้านการรู้คิดในผู้สูงอายุท่ีมีภาวะสมรรถภาพ สมองบกพร่องระยะต้นในกลุ่มทดลองก่อนและหลังได้รับโปรแกรมผสมผสานกิจกรรมเพื่อส่งเสริม สมรรถภาพของสมอง และเพ่ือเปรียบเทียบการทาหน้าท่ีด้านการรู้คิดในผู้สูงอายุท่ีมีภาวะสมรรถภาพ สมองบกพร่องระยะต้น ระหว่างกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมผสมผสานกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสมรรถภาพ ของสมองและกลุ่มควบคุมที่ได้รับการดูแลตามปกติ เป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุท่ี มีภาวะสมรรถภาพสมองบกพร่องระยะต้น 30 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 15 คน เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย โปรแกรมผสมผสานกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมสมรรถภาพสมองในกลุ่ม ผู้สูงอายุที่มีภาวะสมรรถภาพสมองบกพร่องระยะต้น แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมิน ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ดัชนีบาร์เธล แบบประเมินความสามารถเชิงปฏิบัติดัชนีจุฬา เอดีแอล แบบวัดความเศร้าในผู้สูงอายุไทยและแบบประเมินพุทธิปญญาโมคาฉบับภาษาไทย วิเคราะห์ ข้อมูลด้วยการแจกแจงค่าความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และการ ทดสอบไคสแควร์
ผลการวิจัย พบว่า ผู้สูงอายุที่มีภาวะสมรรถภาพสมองบกพร่องระยะต้นกลุ่มทดลองหลังได้รับ โปรแกรมผสมผสานกิจกรรมเพ่ือส่งเสริมสมรรถภาพของสมองมีคะแนนพุทธิปญญาโมคาสูงกว่าก่อนได้รับ โปรแกรม อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และผู้สูงอายุท่ีมีภาวะสมรรถภาพสมองบกพร่องระยะต้น
ในกลุ่มทดลองหลังได้รับโปรแกรมผสมผสานกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสมรรถภาพของสมองคะแนนพุทธิปญญาโมคา (MoCA test) สูงกว่ากลุ่มท่ีได้รับการดูแลตามปกติ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01
This quasi experimental research were to compare cognitive function of elderly with mild cognitive impairment (MCI) before and after completing the integrated interventions program in the experimental group and compare cognitive function of elderly with MCI between experimental and control group after completing 6 weeks of the integrated interventions program. Sample groups were divided into experimental and control group (15 cases per group) with match pair technique. Research instruments included the integrated intervention program for promoting brain’s ability of elderly with MCI, personal characteristic questionnaire, The Barthel Index for Activities of Daily Living (Barthel ADL), Chula Activities of Daily Living Index (Chula ADL), Thai Geriatric Depression Scale (TGDS), Montreal Cognitive Assessment Thai Version (MoCA-Thai Version). Data analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, dependent t-test, independent t-test and Chi-square.
The research results revealed that after completing the program, the average score of MOCA test in experimental group was higher than before at a statistically significant (p <.01). Moreover, the average score of MOCA test in experimental group was higher than control group at a statistically significant (p <.01).