การจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมสวัสดิการและการจ้างงานผู้สูงอายุ
บทคัดย่อ/Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและข้อจำกัดเกี่ยวกับการรับจ้างท างานของผู้สูงอายุ แนวทางการจัดสวัสดิการและจ้างงานผู้สูงอายุ และเพื่อจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมสวัสดิการและการจ้างงานผู้สูงอายุ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร คือ เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานภาครัฐที่มีประสบการณ์ท างานเกี่ยวกับสิทธิสวัสดิการแรงงานและการจ้างงานผู้สูงอายุ รวมถึงผู้ประกอบการ และผู้สูงอายุจังหวัดอุบลราชธานี โดยกำหนดคุณสมบัติผู้ให้ข้อมูลสำคัญและใช้วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจงและแบบลูกโซ่ ในพื้นที่ชุมชนเมืองและชุมชนชนบท จังหวัดอุบลราชธานี รวมทั้งสิ้นจำนวน 10 คน วิเคราะห์และสรุปข้อมูลแบบบรรยายพรรณนาผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัญหาและข้อจ ากัดในการจัดสวัสดิการและจ้างงานผู้สูงอายุ พบว่าไม่มีกฎหมายในการก าหนดแนวทางการจ้างงานผู้สูงอายุ การจ้างงานจึงมีลักษณะเป็นเช่นเดียวกับแรงงานทั่วไปและไม่มีการดูแลสวัสดิการที่เหมาะกับผู้สูงอายุโดยเฉพาะ ภาครัฐขาดงบประมาณและขาดความต่อเนื่องในการสนับสนุนกลไกการด าเนินการส่งเสริมการมีรายได้จากการรับจ้างงานและการประกอบอาชีพอิสระสำหรับผู้สูงอายุ พบปัญหาเกี่ยวกับการไม่ได้รับการคุ้มสิทธิสวัสดิการแรงงานผู้สูงอายุที่เป็นแรงงานนอกระบบ ได้แก่ ผู้สูงอายุที่ท างานรับใช้ในบ้าน รับจ้างทั่วไปและงานด้านเกษตรกรรม งานก่อสร้าง เป็นต้น พบอุปสรรคในการจัดหาแรงงานผู้สูงอายุที่ไม่ตรงตามความต้องการของทั้งผู้ประกอบการและผู้สูงอายุ และสถานประกอบการที่มีขนาดกลางและขนาดเล็กขาดความต้องการแรงงานผู้สูงอายุเนื่องจากต้องการลดต้นทุนและมุ่งหวังผลิตผลมากกว่า และผู้สูงอายุมีข้อจำกัดในการใช้ทางเทคโนโลยีเพื่อเข้าถึงข้อมูลการมีรายได้และการรับจ้างงาน 2. แนวทางการส่งเสริมสวัสดิการและจ้างงานผู้สูงอายุ คือ ควรมีมาตรการกฎหมายเฉพาะเกี่ยวกับแนวทางการจ้างงานกับผู้สูงอายุ รัฐบาลควรส่งเสริมการมีรายได้และจ้างงานผู้สูงอายุ และควรสนับสนุนแรงงานที่ผลิตสินค้าเชิงวัฒนธรรมจากภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ ผู้ประกอบการควรให้ความร่วมมือในการช่วยเหลือและให้โอกาสจ้างงานผู้สูงอายุ ชุมชนควรมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเตรียมความพร้อมทั้งด้านสังคม ด้านสุขภาพ และด้านเศรษฐกิจ และส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการปรับตัวให้เข้ากับตลาดแรงงานมากขึ้น 3. แนวทางการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมสวัสดิการและการจ้างงานผู้สูงอายุ พบว่า สามารถอาศัยนโยบายเดิมตามแนวทางของการจัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ (3) มนุษย์ได้ หรือปรับปรุงสถานที่ในชุมชนที่มีอยู่ เช่น วัด และศาลากลางหมู่บ้าน โดยให้มีผู้ใหญ่บ้านและสมาชิกชมรมผู้สูงอายุขับเคลื่อนกิจกรรมและประสานกับส านักงานจัดหางานจังหวัด และส านักงานส่งเสริมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด ข้อเสนอแนะการวิจัย คือ ศูนย์ส่งเสริมสวัสดิการและการจ้างงานผู้สูงอายุในแต่ละชุมชน ควรสำรวจและจัดท าระบบบันทึกข้อมูลไว้สำหรับให้ผู้สูงอายุและผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงการรับจ้างงานและการจ้างงานในรูปแบบต่าง ๆ ได้ และรัฐบาลควรสนับสนุนงบประมาณสำหรับดำเนินกิจกรรมฝึกอาชีพอิสระ การมีรายได้และสนับสนุนให้ผู้ประกอบการจ้างงานผู้สูงอายุและจัดสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ
The aims of research are to study problems and limitation in elderly employment, guideline for welfare and employment of elderly in order to establish welfare and employment promoting center for the elderly. This is qualitative study and samples were the elderly in Ubon Ratchathani Province and officers who have experience toward labor and employment rights for elderly, including entrepreneur. The qualification of the key informants was specified. There were totally ten key informants and selected by purposive sampling and snowball sampling from urban and rural in Ubon Ratchathani Province. Data was analyzed and summarized as descriptive results. 1) According to problems and limitation in establishment of welfare and employment for the elderly, it found that there was no law to set guidelines for elderly employment. Consequently, elderly employment was the same as general labor and did not provide welfare for elderly employees. The government had insufficient budget and could not support the mechanism for promoting income from employment and self-employment for the elderly. It also found that the elderly in informal employment were not protected under labor welfare such as maid in houses, general contractor, agricultural work, construction, etc. The obstacle was procuring elderly workers that did not meet needs both entrepreneurs and the elderly employees as well as small and medium business did not need the elderly employees due to reducing of cost and aim of large producing. The elderly employees had limitations in use of technology to access information about income and employment. 2) the guidelines for promoting welfare and elderly employment must be regulation of specific labor law for elderly employment. The government should promote income and elderly (5) employment as well as support products from the wisdom of the elderly employees. Entrepreneurs should cooperate in helping and providing opportunities for the elderly employment. Communities should be involved and preparation in social, health and economic activities as well as encourage the elderly to self-adjustment to the labor market. 3) the guideline for establishment of welfare and employment promoting center for the elderly found that the same policies in accordance with the guidelines for establishment of the Center for Development of the Quality of Life and Occupation of the Elderly of the Ministry of Social Development and Human Security could be applied or renovate existing places in communities such as temples and village halls. Village headman and members in elderly club drive activities and coordinate with provincial employment office and the Office of Labor Protection and Welfare Promotion. It suggests that welfare and employment promoting center for the elderly in each community should survey and set data recording system for the elderly and entrepreneurs to access various forms of employment. The government should support budget for carrying out independent training activities and income as well as promote elderly employment and welfare for the elderly.